ความเป็นมาของไซดักปลา

ความเป็นมาของไซดักปลา
ในอดีต วิถีชีวิตของชาวบ้าน เมื่อเสร็จจากฤดูเก็บเกี่ยวข้าวนาปีแล้ว ชาวบ้านมักมีเวลาว่างจากการทำนา จึงใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการประกอบอาชีพต่างๆ เพื่อเสริมรายได้ของพวกเขา เช่น  ทำไร่ทำสวนและการหาปลา โดยออกหาปลาตาม ห้วย หนอง คลอง บึง มีการใช้เครื่องมือดักปลา
ไซ ถือเป็นเครื่องมือจับปลายอดฮิต เป็นวิชาบังคับสำหรับคนคิดจะมีเหย้าเรือนซึ่งชาวบ้านจะกำหนดกันไว้สำหรับลูก ผู้ชายก่อนมีเหย้าเรือนต้องฝึกให้เป็น เช่น  สานหวด กระติบข้าว ครุ  ตะกร้าแล้วก็สานไซ เป็นถึงจะถือว่ามีฝีมือพอ ไม่เช่นนั้นพ่อแม่สาว ๆ เขารังเกียจเกรงว่าจะหาเลี้ยงลูกเขาไม่ดีพอ การสานไซทดสอบความเพียรของลูกผู้ชายได้ดีมาก เพราะทำยุ่งยากจริง ๆ ไม้ไผ่บ้าน ไผ่ตงลำหนึ่งสานไซได้สัก 2 หลัง ลองนึกดูจักตอกโดยใช้ไม้ไผ่ทั้งลำ ต้องขยันขนาดไหน

C:\Users\Administrator\Desktop\New folder (2)\images (7).jpg

C:\Users\Administrator\Desktop\New folder\20141103_135442.jpg   C:\Users\Administrator\Desktop\New folder\20141106_093951.jpg

รูปที่ 1 วิถีชีวิตของคนในชนบท

วิธีการประดิษฐ์ไซดักปลา

วิธีการประดิษฐ์ไซดักปลา  ดักปู
ไซที่นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน และยังมีให้เห็นทั่วไปคือไซหนูและไซพลาสติก  โดยไซทั้ง 2 ชนิดนี้สามารถทำได้ง่าย โดยมีขึ้นตอนต่างๆ ดังนี้
3.1 ไซหูหมู
ตัวไซ
หาไม้ไผ่ที่ไม่แก่ไม่อ่อนจนเกินไป ผ่าเป็นซี่ๆ บางๆ ทำการเหลาเป็นเส้นเรียกว่า “ตอก”


D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141103_134554.jpg    D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141103_135029.jpg    D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141103_135347.jpg


รูปที่ 6 การผ่าไม้เหลาเส้นตอก
เมื่อได้ไม้ไผ่เป็นเส้นๆ หรือตอกที่ต้องการ แล้วนำมาสานเป็นรูปสามเหลี่ยมเรียกว่าเป็นการเริ่มหรือขึ้นหัวไซ ดังรูป


D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141106_090115.jpg  D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141106_090307.jpg  D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141106_091155.jpg


รูปที่ 7 การขึ้นหัวไซ
ส่วนหัวไซจะมีเส้นตอกพุ่งออกเรียกว่าเส้นแนวตั้ง


D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141106_090940.jpg
รูปที่ 8 แสดงเส้นแนวตั้ง

เมื่อได้ส่วนหัวของหัวไซ ทำการสานตัวไซ จะใช้เส้นตอกสานตัดกันในแนวขวางกันกับเส้นแนวตั้งของหัวไซ โดยจะสลับขึ้นลงดังรูป


 D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141106_091504.jpg    D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141106_091528.jpg    D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141106_093951.jpg
รูปที่ 9 การสารเส้นแนวขวาง




ทำการสารส้นตอกไปเรื่อยจนใกล้สุดปลายเส้นแนวตั้ง โดยต้องรักษาระยะห่างของตาไซให้สม่ำเสมอกัน


D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141106_101019.jpg


รูปที่ 10 แสดงการสารเส้นแนวขวางจนสุดเส้นแนวตั้ง
เมื่อสารสวนของตัวไซในเส้นขวางใกล้สุดปลายเส้นแนวตั้งแล้ว ให้นำเส้นตอกมาสารเก็บขอบปากตัวไซ โดยขยับเส้นตอกให้ชิดกันจนสุดประมาณ 1 เส้น


D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141106_101222.jpg


รูปที่ 11 แสดงการเก็บขอบปากตัวไซ

ทำการบิดปลายเส้นแนวตั้งไปขัดกับอีกเส้นหนึ่งไปเรื่อยๆ ดังรูป


D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141106_101343.jpg     D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141106_101400.jpg


รูปที่ 12 การขัดปากตัวไซ

เมื่อขัดปลายเส้นแนวตั้งจนรอบปากวงไซแล้ว ส่วนของตัวไซก็เสร็จสมบูรณ์


 D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141106_101731.jpg     




D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141106_101752.jpg


รูปที่ 13 แสดงส่วนของตัวไซที่เสร็จสมบูรณ์



งาไซ
1) นำเส้นตอกมาวางเรียงกัน 4 เส้น  ตัดเส้นตอกยาวประมาณ 1 ฟุต 17 เส้น ด้านปลายปาดให้แหลม นำมาสารขัดกับเส้นตอกทั้ง 4 เส้น โดยไล่ระดับกันเส้นกลางจะเป็นเส้นที่ยาวที่สุดดังรูป
D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141107_110756.jpg   D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141107_110613.jpg
D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141107_110927.jpg
รูปที่ 14 การจัดเรียงเส้นตอกในส่วนของงาไซ
2) ทำการเสริมเส้นตอกอีก 1 เส้นเป็น 5 เส้น
D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141107_111054.jpg
รูปที่ 15 การเสริมเส้นตอก

3) เมื่อได้แผงไม้ผาแล้วให้ทำการม้วนเป็นรูปกรวย  สารขัดกันกับเส้นตอกทั้ง 5 เส้นก็จได้ในส่วนของกรวย  ของงาไซ


D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141107_111251.jpg    D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141107_111344.jpg


รูปที่ 16 การม้วนกรวยงาไซ
4) นำเส้นตอกมาสารรอบกรวยไซโดยสารเพิ่มอีกประมาณ 3 เส้น


D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141107_111935.jpg


รูปที่ 17 การสารกรวยงาไซ

5) นำเส้นตอกอีกเส้นมาสารโดยรอบโดยให้ชิดกับเส้นสุดท้ายเป็นการเก็บขอบของปากงาไซ



D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141107_111846.jpg



รูปที่ 18 การย้ำขอบงาไซ
6) พับปลายเส้นตอกนำไปขัดอีกเส้นหนึ่งทำโดยรอบปากงาไซก็จะได้งาไซตามที่เราต้องการ  


D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141107_112421.jpg    D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141107_164246.jpg

รูปที่ 19 การขัดขอบงาไซและงาไซที่เสร็จสมบูรณ์

การประกอบตัวไซและงาไซ
1) นำงาไซมาทาบกับตัวไซจากนั้นร้อยเชือกตัวไซกับงาไซติดกัน  โดยส่วนหูข้างหนึ่งไม่ต้องร้อยเพื่อใช้นำปลาออกจากไซ

D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141107_164254.jpg   D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141107_164433.jpg


รูปที่ 20 การยึดตัวไซกับงาไซเข้าด้วยกัน

2) เหลาไม้ยาวประมาณ  1 คืบ จากนั้นทำการพับครึ่งแล้วบิดเป็นรูปตัวยูขัดระว่างหูไซกับตัวไซ


D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141107_165242.jpg     



D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141107_165257.jpg
รูปที่ 21 ได้ไซหูหมูที่เสร็จสมบูรณ์


3.2 ไซพลาสติก
ไซพลาสติกจะเป็นไซที่ประยุกต์มาจากไซหูหมู แต่เปลี่ยนจากไม้ไผ่เป็นพลาสติก แต่ส่วนของไซยังเป็นไม่ไผ่อยู่ ซึ่งไซพลาสติกสามารถทำได้ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
1) เตรียมอุปกรณ์ได้แก่ เชือกไนล่อน ตาข่ายพลาสติก งาไซ ไม้ขัดหัวไซ     


D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141107_170415.jpg


รูปที่ 22 อุปกรณ์ในการทำไซพลาสติก
2) ตัดตาข่ายพลาสติกโดยเทียบขนาดเท่ากับงาไซ ดังรูป
D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141113_152638.jpg
รูปที่ 23 การวัดงาไซกับตาข่ายพลาสติก



3) ตัดเชือกไนลอนให้ยาวกว่าความยาวไซประมาณ 1 ฟุต เพื่อทำการถักตาข่ายพลาสติก


D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141113_152714.jpg


รูปที่ 24 การวัดความยาวเชือกไนลอนที่จะใช้ถักตาข่าย
4) ทำการม้วนตาข่ายพลาสติก จากนั้นทำการถักโดยใช้เชือกไนลอน ดังรูป

D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141113_153059.jpg    
รูปที่ 25 การถักตาข่ายพลาสติกด้านข้าง



5) ถักตาข่ายจนสุดความยาวของไซ จะได้ส่วนของตาข่ายพลาสติกเป็นทรงกระบอก ดังรูป


D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141113_153149.jpg


รูปที่ 26 ตาข่ายพลาสติกที่ทำการถักเสร็จแล้ว

6) จากนั้นทำการถักส่วนของหัวไซ ใช้วิธีเดียวกันกับการถักตัวไซ เพียงแต่สวนหัวไซครึ่งเดีย
D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141113_153227.jpg
รูปที่ 27 การถักตาข่ายพลาสติกส่วนหัวไซ



7) นำส่วนงาไซมาใส่ท้ายไซ โดยใช้เชือกไนลอนหรือเชือกฟางมัดยึดระหว่างตัวไซกับงา


D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141113_153536.jpg     D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141113_154001.jpg


รูปที่ 28 การยึดตัวไซกับงาไซเข้าด้วยกัน
8) นำไม้ขัดตัวไซมาขัดตาข่ายพลาสติก ตรงส่วนหัวไซที่ไม่ได้ถักเชือกไนลอน เป็นส่วนที่ใช้นำปลาออกจากไซ


D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141113_154032.jpg


รูปที่ 29 การเสียบไม้ขัดส่วนหัวไซ
9) ได้ไซพลาสติกที่พร้อมใช้งาน


D:\งาน อ.นคเรช\New folder\20141113_154408.jpg

รูปที่ 30 ไซพลาสติกที่เสร็จสมบูรณ์

VDO การทำไซดักปลา


ประโยชน์ของไซดักปลา

ประโยชน์ของไซดักปลา  ดักปู
ทำให้คนในชุมชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
เป็นอาชีพเสริมให้กับชาวนาหลังจากฤดูทำนา
ได้วัตถุดิบในการประกอบอาหาร
ประหยัดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน
เป็นการใช้ทรัพยากรในชุมชนให้เกิดประโยชน์

สืบสารวิถีชีวิตของคนในชุมชน